Page 9 - Ebook_AGRI_9-1
P. 9

วารสารเกษตรหันตรา ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจ าเดือน มกราคม - เมษายน 2566                     Kaset Huntra Gazette  Vol.9 No.1 January - April 2023



                   วัสดุที่นิยมน ามาผลิตเม็ดไฮโดรเจล ส่วนใหญ่จะเป็นสาร        จากวิธีการผลิตเม็ดไฮโดรเจล (รูปที่ 1)
            กลุ่มโพลิแซ็คคาไรด์ ได้แก่ Agar, alginate, chitosan, cellulose,     มีหลากหลายวิธีรวมทั้งสารที่จะน ามาผลิตไฮโดรเจล

            gum, pectin, starch และcarrageenan สารกลุ่มโปรตีน ได้แก่     ที่มีหลายชนิด ท าให้ปัจจุบันงานวิจัยเกี่ยวกับอาหารส่วนใหญ่
            collagen,  gelatin,  whey  protein,  soy  protein,  zein    จึงมีความมุ่งเน้นให้ความสนใจเกี่ยวกับการผลิตเม็ดไฮโดรเจล

            และไข่ขาว นอกจากสารที่น ามาผลิตจะมีความหลากหลาย     ที่สามารถปกป้องสารส าคัญให้คงอยู่ในระหว่างกระบวนการ

            วิธีผลิตเม็ดไฮโดรเจลก็มีความหลากหลายเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็น   ผลิตอาหาร รวมทั้งสามารถควบคุมให้เม็ดไฮโดรเจลแตกตัว

            Extrusion  technique, Spray dry technique, Freeze   ปลดปล่อยสารส าคัญสู่อวัยวะเป้าหมาย นอกจากงานวิจัย

            dry  technique, Emulsification technique,           ด้านการผลิตเม็ดไฮโดรเจลแล้ว ยังมีงานวิจัยเกี่ยวกับ

            Coacervation technique  และliposome technique (3)     ความปลอดภัยในการน าไปใช้รวมทั้งการน าไปใช้โดยไม่ท าให้
                                                                เนื้อสัมผัสหรือรสชาติของอาหารที่มีการเติมเม็ดไฮโดรเจล

                                                                เปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี้ผู้ผลิตในอุตสาหกรรมอาหาร

                                                                ยังเริ่มให้ความสนใจในด้านอาหารโมเลกุล (molecular

                                                                gastronomy) ซึ่งเน้นสร้างประสบการณ์ด้านการบริโภค

                                                                ที่แปลกใหม่แก่ผู้บริโภค (รูปที่ 2) (4)





                  รูปที่ 2 การผลิตเม็ดไฮโดรเจลจาก (ซ้ายไปขวา)
                     ซอสฮอยซิน ซอสผักชี ซอสพริกศรีราชา

                            ที่มา Che J. (2014)

                                                                                       ผู้เขียนบทความ: ดร.สิริวรรณ สุขนิคม
                                                                        อาจารย์ประจ าสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

                                                    คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
        เอกสารอ้างอิง                                                               มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

        [1]   Anal, A. K., & Singh, H. (2007). Recent advances in microencapsulation of probiotics for industrial applications and
              targeted delivery. Trends in Food Science and Technology,18(5), 240–251. doi 10.1016/j.tifs.2007.01.004.
                                                                             สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
        [2]   Che, J. (2014).  Foodbuzz 24, 24: Molecular Gastronomy with an Asian Twist. สืบค้น 15 มิถุนายน
              2566, จาก https://tinyurbankitchen.com/foodbuzz-24-24-molecular-gastronomy/

        [3]   Nazmus Saqib, Md., Khaled, B.M., Liu, F.& Zhong, F. (2022). Hydrogel beads for designing future foods: Structures,
              mechanisms, applications, and challenges. Food Hydrocolloids for Health, 2, 100073.

              doi.org/10.1016/j.fhfh.2022.100073.
        [4]   Zegler, J. (2021). Mintel global food and drink trends 2030 สืบค้น 15 มิถุนายน 2566,
              จาก https://downloads.mintel.com/private/vKd7N/files/817369 .







                                                           - 9 -
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14