Page 13 - Ebook_AGRI_9-1
P. 13
วารสารเกษตรหันตรา ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจ าเดือน มกราคม - เมษายน 2566 Kaset Huntra Gazette Vol.9 No.1 January - April 2023
การยืดอายุการเก็บรักษาหัวมันเทศสด
สายพันธุ์แครอทด้วยการจุ่มน ้าร้อน
ร่วมกับการเก็บรักษาที่อุณหภูมิต ่า
มันเทศ (sweet potato) เป็นพืชอาหารที่มีความส าคัญ จากการศึกษาการเก็บรักษาหัวมันเทศสดสายพันธุ์
อันดับ 7 ของโลก รองจากข้าวสาลี ข้าว ข้าวโพด มันฝรั่ง แครอทจากต าบลบ้านม้า อ าเภอบางปะหัน จังหวั ด
ข้าวบาร์เลย์ และมันส าปะหลัง มีถิ่นก าเนิดในเขตร้อนแถบอเมริกา พระนครศรีอยุธยา โดยการจุ่มในน้ าร้อนที่อุณหภูมิ 55 องศา
กลางและอเมริกาใต้ เป็นพืชหัวที่ปลูกง่าย ปลูกได้ในดิน เซลเซียส และสารโบแทรน 75 WP เป็นเวลา 1 นาที ก่อนท าการเก็บ
แทบทุกชนิด ทั้งดินเหนียว ดินร่วน ดินร่วนปนทราย ในประเทศไทย รักษาที่อุณหภูมิห้อง (28 ถึง 31 องศาเซลเซียส) และอุณหภูมิต่ า
นิยมปลูกตลอดปีทั่วทุกภาคของประเทศ แหล่งปลูกเพื่อเป็นการค้า (6 ถึง 9 องศาเซลเซียส) พบว่า การจุ่มหัวมันเทศสดในน้ าที่อุณหภูมิ
ที่ส าคัญในประเทศไทยมีเชียงใหม่ เชียงราย สุโขทัย พิษณุโลก 55 องศาเซลเซียส ร่วมกับการเก็บที่อุณหภูมิต่ า เป็นสภาวะ
หนองคาย อุบลราชธานี ศรีสะเกษ บุรีรัมย์ อยุธยา สุพรรณบุรี ที่เหมาะสมต่อการเก็บรักษาหัวมันเทศสด ซึ่งสามารถเก็บรักษาหัวมัน
ราชบุรี นครปฐม ปราจีนบุรี ระยอง ตราด นครราชสีมา และพัทลุง เทศสดได้นานอย่างน้อย 28 วัน (รูปที่ 1) มากกว่าเก็บที่อุณหภูมิห้อง
มันเทศมีอายุการเก็บเกี่ยวประมาณ 4-6 เดือน มักจ าหน่าย (7 ถึง 14 วัน) จากการสูญเสียน้ าหนักไปอย่างรวดเร็วและเปอร์เซ็นต์
โดยการขายส่งและขายปลีกเป็นส่วนใหญ่ โดยไม่มีมันเทศจ าหน่าย การงอกสูง การให้ความร้อนกับหัวมันเทศสดหลังจากการเก็บเกี่ยว
ตลอดทั้งปี จากการมีอายุการเก็บรักษาสั้นน้อยกว่า 4 สัปดาห์ ช่วยชะลอการสูญเสียน้ าหนัก เนื่องจากการท างานของโปรตีน
เนื่องจากการเสื่อมเสียจากด้วงงวงมันเทศ ซึ่งเป็นแมลงศัตรูส าคัญ และเนื้อเยื่อบริเวณผิวมันเทศถูกยับยั้ง จึงช่วยชะลอการระเหย
ที่พบท าลายส่วนเถาและมันเทศ ท าให้มันเทศมีหัวน้อยลง ของน้ าผ่านทางผิวของมันเทศ [4] รวมทั้งการเก็บหัวมันเทศสด
หัวมีคุณภาพต่ า มีกลิ่นเหม็น และมีรสขม ไม่เป็นที่ต้องการของ ที่อุณหภูมิต่ า เป็นการลดความแตกต่างของความชื้นระหว่างหัวมัน
ผู้บริโภค และปัญหารองลงมา คือ โรคหัวเน่า สาเหตุจากเชื้อรา เทศสดกับสภาวะแวดล้อมภายนอกให้ต่ าลง น้ าจึงระเหยจากผิว
ห ล า ย ช นิ ด เ ช่ น Aspergillus ochraceus, Ceratocystis ของมันเทศสู่บรรยากาศช้ากว่าหัวมันเทศสดที่เก็บที่อุณหภูมิห้อง
filmbriata, Botryodiplodia theobroame, Fusarium spp., และยังช่วยชะลอการงอกของหัวมันเทศสดอีกด้วย ซึ่งเมื่อการงอก
Macrophomina phascolina, Rhizopus spp., Sclerotium เกิดขึ้นช้าจะท าให้หัวมันเทศสดเก็บรักษาได้นานและมีคุณภาพดี [5]
rolfsii, Cochliobolus lunatus, Rhizoctonia solani,
Gliomastix novaezelandiae และ Plenodomus destruens
[1] ซึ่งการยืดอายุการเก็บรักษามันเทศหลังการเก็บเกี่ยวสามารถ
ท าได้หลายวิธี โดยน ามันเทศมาผ่านความร้อน การใช้รังสีร่วมกับ
การใช้คลอรีน การเก็บในห้องเย็นที่อุณหภูมิต่ า และการฝังมันเทศ
ในกล่องทราย การเคลือบด้วยไคโตซาน และการใช้เกลืออนินทรีย์
และอินทรีย์ [2, 3]
- 13 -