Page 10 - Ebook_AGRI_9-1
P. 10

วารสารเกษตรหันตรา ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจ าเดือน มกราคม - เมษายน 2566                     Kaset Huntra Gazette  Vol.9 No.1 January - April 2023


          โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose disease)






                                            และการควบคุม




                 โรคแอนแทรคโนส (anthracnose disease) (รูปที่ 1)         ปัจจุบันมีการประยุกต์ใช้หลากหลายวิธีในการควบคุม
          เกิดจากการเข้าท าลายของเชื้อราในสกุล Colletotrichum ปัจจุบัน   โรคและเชื้อสาเหตุดังกล่าว เช่น การควบคุมแบบชีววิธี (biological

          มีรายงานการเข้าท าลายพืชมากกว่า 500 ชนิด ทั่วโลก [1]      control)   โ ด ย ก า ร ใ ช้ เ ชื้ อ ร า   Trichoderma  spp.
          ส่งผลกระทบต่อผลผลิตทางการเกษตรทั้งในระยะแปลงปลูก      เชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ Bacillus subtilis รวมถึงยีสต์และจุลินทรีย์

          รวมถึงระยะก่อน และหลังเก็บเกี่ยว ก่อให้เกิดความเสียหาย   อื่น ๆ นอกจากนี้ยังมีการใช้น้ าร้อน (hot water) สารผสมอาหาร

          ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ จากข้อมูลของ Bincader et al. (2022)    (food additives) และอนุภาคนาโน (nano particles) เพื่อการ
          [2] พบว่าเชื้อราสกุลดังกล่าวมีความหลากหลายทางชีวภาพที่     ควบคุมโรคที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ และผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว


          ค่อนข้างสูง รวมถึงมีความทับซ้อนของสปีชีส์ (species complex) ที่    เป็นต้น [6,7] แต่วิธีการที่นิยมมากคือการใช้สารเคมี เนื่องจาก


          มาก [3-5] ท าให้ในปัจจุบันการจ าแนกเชื้อราในสกุลนี้ จ าเป็นต้อง     มีประสิทธิภาพที่ชัดเจน เห็นผลรวดเร็ว นอกจากนี้สารเคมีป้องกัน

          อาศัยข้อมูลทางด้านสัณฐานวิทยา การเข้าท าลายพืช และข้อมูล   ก าจัดยังมีรูปแบบการใช้ที่หลากหลาย เหมาะส าหรับการควบคุม

          ทางอณูชีวโมเลกุลในการสนับสนุนการระบุสปีชีส์ เพื่อประโยชน์   ในทุกกระบวนการตั้งแต่ระยะแปลงปลูกจนถึงหลังการเก็บเกี่ยว
           ในด้านการจัดการกลยุทธ์ส าหรับควบคุมต่อไป                    สารเคมีหลายกลุ่มมีรายงานถึงความสามารถ

                                                                ในการควบคุมโรคและเชื้อสาเหตุโรคแอนแทรคโนสได้
                                                                โดยแต่ละสารเคมีจะมีกลไกการออกฤทธิ์ (mode of action)


                                                                แตกต่างกัน เช่นสารเคมีในกลุ่ม quinone outside inhibitors
                                                                (QoI) มีกลไกในการรับรู้ระบบหายใจ (respiration) ของเชื้อรา

                                                                สารเคมีในกลุ่ม benzimidazole มีกลไกในการยับยั้ง

                                                                ก า ร แ บ่ ง เ ซ ล ล์ แ บ บ   mitosis  ข อ ง เ ชื้ อ ร า   ส า ร เ ค มี

                                                                กลุ่ม DeMethylation Inhibitors (DMI) ยับยั้งและรบกวน
                                                                กระบวนการสังเคราะห์สเตรียรอยด์บริเวณผนังเซลล์

                                                                เชื้อรา เป็นต้น [8] แต่การใช้สารเคมีชนิดเดิม ซ้ ากันเป็นระยะ

                                                                เวลานาน อาจส่งผลให้เชื้อราเกิดการกลายพันธุ์และ

                                                                แสดงความต้านทานต่อสารเคมีได้ โดยเฉพาะในกลุ่ม
                                                                benzimidazole ได้แก่ เบลโนมิล คาร์เบนดาซิมไทโอฟาเนต

                                                                เมทิล เป็นต้น ซึ่งความต้านทานของเชื้อราสามารถตรวจสอบได้

           รูปที่ 1 อาการของโรคแอนแทรคโนสบนพืชอาศัยที่เกิดจากเชื้อรา  ทั้งการศึกษาบนอาหารพิษ (poisoned food technique)

                          ในสกุล Colletotrichum                 หรือการเปลี่ยนแปลงในระดับอณูชีวโมเลกุล [9]
                     แหล่งที่มา: Cannon et al. (2012) [1]





                                                          - 10 -
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15