Page 6 - Ebook_AGRI_9-1
P. 6

วารสารเกษตรหันตรา ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจ าเดือน มกราคม - เมษายน 2566                     Kaset Huntra Gazette  Vol.9 No.1 January - April 2023


               โรคใบจุดของผักกาดคอส ( Lactuca sativa var. longifolia )


                     และศักยภาพของสารเคมีเพื่อป้องกันการตกค้างของเชื้อรา


                                        ในระบบการปลูกพืชแบบไม่ใช้ดิน


                         ผักกาดคอส (Lactuca sativa var. longifolia)    งานวิจัยของคณาจารย์ สาขาวิชาพืชศาสตร์

          เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ Asteraceae โดยพืชในวงศ์ดังกล่าว   คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัย

                                                               เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ร่วมกับภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร
          เป็นพืชดอกที่มีการกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้าง มีสมาชิกมากถึง
           23,000 สายพันธุ์ [1] องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นไฟเบอร์   ก าแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงได้ท าการศึกษา
          และวิตามิน รวมถึงแอนโทไซยานิน และแร่ธาตุอีกหลายชนิด [2,3]     ความผิดปกติของผักกาดคอสที่คาดว่าอาจจะเกิดจากเชื้อรา

          จึงท าให้เป็นที่นิยมของผู้บริโภคทั้งใน และต่างประเทศ      สาเหตุโรค และท าการจ าแนกชนิดและสปีชีส์ของเชื้อรา

                 ปัญหาของการผลิตผักกาดคอส คือความกังวลของ      เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลในการผลิตพืช พร้อมกับประเมินประสิทธิภาพ

          ผู้บริโภคเกี่ยวกับอาหารปลอดภัย จึงท าให้ในปัจจุบันเกษตรกร    ของสารเคมีในการควบคุมเพื่อลดการแพร่ระบาด และการปนเปื้อน

          และผู้ผลิตผักสลัด นิยมปลูกผักกาดคอสในโรงเรือน ทั้งในรูปแบบ     ของเชื้อสาเหตุโรคในวัสดุปลูก โดยผลการทดลอง พบว่า

          ไฮโดรโพนิกส์ (hydroponic) และการปลูกพืชแบบไม่ใช้ดิน     ตัวอย่างผักกาดคอสที่แสดงอาการแผลจุดสีน้ าตาล
          ภายใต้สภาวะโรงเรือนควบคุม แต่ระบบการปลูกพืชแบบไม่ใช้ดิน      ขอบแผลสีน้ าตาลเข้ม เจริญซ้อนกันเป็นวง เมื่อน ามาแยกเชื้อ

          จ าเป็นต้องมีการให้น้ า และความชื้นมากขึ้น เพื่อให้รากและต้นพืช  ด้วยวิธี tissue transplanting ตรวจสอบลักษณะทางสัณฐานวิทยา

          สามารถพัฒนาได้ ซึ่งความชื้นเป็นหนึ่งในปัจจัยที่ท าให้เกิด      ร่วมกับเทคนิคทางอณูชีวโมเลกุลในการเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรม

          การระบาด และแพร่กระจายของศัตรูพืชได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง      บริเวณ internal transcribed spacer (ITS1-5.8s-ITS2) ระบุ

          เชื้อราสาเหตุโรคพืช ซึ่งสามารถมีชีวิตอยู่ได้ในสภาพแวดล้อม      เป็นเชื้อรา Alternaria brassicicola ทดสอบความสามารถ

          แบบร้อนชื้น อบอ้าว ทั้งในรูปของ parasite และ saprophyte [4]   ในการเกิดโรคตามวิธีการ Koch’s postulate พบว่าเชื้อราดังกล่าว

          นอกจากนี้ยังสามารถพักตัวอยู่ในวัสดุปลูกซึ่งใช้ทดแทนดิน      ส่งผลให้ใบผักกาดคอสแสดงอาการแผลจุดสีเหลืองในระยะเวลา

          ได้เช่นกัน                                            7 วัน หลังการปลูกเชื้อ และเมื่อเวลาผ่านไป 10 วัน แผลพัฒนาเป็น
                 การควบคุมเชื้อราในกระบวนการปลูกพืชไม่ใช้ดิน      จุดเจริญซ้อนกันเป็นวงสีน้ าตาล ขอบแผลสีน้ าตาลเข้ม ทดสอบ

          หรือไฮโดรโพนิกส์ ส่วนใหญ่นอกเหนือจากการตัดแต่ง       ประสิทธิภาพของสารเคมีจ านวน 6 ชนิด ความเข้มข้นตามอัตรา

          ท าลายชิ้นส่วนพืชที่เป็นโรคด้วยวิธีการเขตกรรมแล้วนั้น    แนะน า พบว่าสารเคมี copper hydroxide, difenoconazole และ

          ยังมีการควบคุมทางชีวภาพ โดยการใช้ชีวภัณฑ์ป้องกัน เช่น       prochloraz มีประสิทธิภาพในการควบคุมเชื้อราสาเหตุโรค

          เชื้อรา Trichoderma asperellum, เชื้อแบคทีเรีย Bacillus     ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยไม่พบการเจริญของเส้นใย
          subtilis เป็นต้น [5] แต่จากรายงานในปัจจุบัน พบว่า      บนอาหารเลี้ยงเชื้อ นอกจากนี้สามารถยับยั้งการงอกของสปอร์

          การใช้สารเคมี เป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการลดความเสียหาย    เชื้อราได้มากกว่า 99 เปอร์เซ็นต์ ผลจากงานวิจัยดังกล่าว

          รวมถึงยับยั้งการแพร่ระบาดของเชื้อสาเหตุโรคได้อย่างรวดเร็ว      เป็นการวินิจฉัยสาเหตุของอาการใบจุดในผักกาดคอส และหาวิธีการ
          และมีประสิทธิภาพ แต่การใช้สารเคมีนั้น จ าเป็นต้องค านึง     ควบคุมที่มีประสิทธิภาพ เพื่อยกระดับการผลิตผักสลัดให้มีคุณภาพ

          ถึงผลกระทบหลายด้าน ทั้งความสามารถของสารเคมี           ต่อไป [6].

          ในการควบคุม ระยะตกค้าง และการก่อให้เกิดผลกระทบกับพืช




                                                           - 6 -
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11