Profile ดร.สัณฐิติ

ประวัติบุคลากร

คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

อาจารย์ประจำสาขาวิชาพืชศาสตร์        
ตำแหน่งทางวิชาการ   อาจารย์      
E-mail : Santiti.b@rmutsb.ac.th

เบอร์โทรศัพท์  035709096
ที่อยู่  60 หมู่ 3 ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000  

ดร.สัณฐิติ บินคาเดอร์
ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2565

Ph.D. (Plant Pathology), Kasetsart University

พ.ศ. 2559

วท.ม. (โรคพืช) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

พ.ศ. 2557

วท.บ. (เกษตรศาสตร์ เกียรตินิยมอันดับ 2) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ความเชี่ยวชาญ

ด้านสรีรวิทยาและอณูชีวโมเลกุลด้านโรคพืช การจัดการโรคพืช ความต้านทานของเชื้อสาเหตุโรคพืชต่อสารเคมีป้องกันกำจัด และการประยุกต์ใช้ประโยชน์
จากจุลินทรีย์เพื่อการเกษตร

ประสบการณ์การปฏิบัติงาน/การเป็นวิทยากรด้านที่มีความเชี่ยวชาญ

นักวิจัยโครงการ : การวินิจฉัยศัตรูพืชของผักเคลและฤทธิ์ทางชีวภาพของน้ำมันหอมระเหยในการประยุกต์ใช้เพื่อการควบคุมตามหลักเกษตรปลอดภัยภายใต้ระบบปลูกพืชแบบไม่ใช้ดิน

นักวิจัยโครงการ : โรคกิ่งแห้งของทุเรียน: ความสัมพันธ์ของเชื้อรา Fusarium spp. กับ Nectria spp. และปัจจัยที่มีผลต่อการระบาดของโรค

นักวิจัยโครงการ : โรคกิ่งแห้งของทุเรียนสาเหตุจากเชื้อรา Fusarium spp. : การระบาด และการควบคุมโรค

นักวิจัยโครงการ : การติดตามสภาพการโรคเพื่อพัฒนาระบบการจัดการโรคและเชื้อสาเหตุของทุเรียนในภาคตะวันออกและภาคใต้ของประเทศไทย

นักวิจัยโครงการ : การตรวจสอบความต้านทานที่เกิดจากการกลายพันธุ์ต่อสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อราของ Colletotrichum gloeosporioides สาเหตุโรคแอนแทรคโนสมะม่วงน้ำดอกไม้สีทอง

นักวิจัยโครงการ : การคัดเลือก Mycoviruses ที่มีศักยภาพในการควบคุมโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum และ Fusarium species

นักวิจัยโครงการ : การศึกษา Pathotype ของเชื้อรา Colletotrichum species ที่แยกจากผลกาแฟ

นักวิจัยโครงการ : การพัฒนาระบบฐานข้อมูลโรคสำคัญบนใบของไม้ยูคาลิปตัส

นักวิจัยโครงการ : การทดสอบพันธุ์ต้านทานโรคใบจุดด่างเหลืองที่เกิดจากเชื้อรา Phaeophleospora destructans ของยูคาลิปตัส

วิทยากรโครงการหลักสูตรการเสริมสร้างความรู้และทักษะการใช้สารเคมีทางการเกษตรอย่างปลอดภัยร่วมกับการประยุกต์ใช้อากาศยานไร้คนขับทางการเกษตร

วิทยากรโครงการการติดตามสภาพการโรคเพื่อพัฒนาระบบการจัดการโรคและเชื้อสาเหตุของทุเรียนในภาคตะวันออกและภาคใต้ของประเทศไทย

วิทยากรโครงการโรคในทุเรียนและการใช้สารเคมีอย่างมีประสิทธิภาพ

วิทยากรโครงการการพัฒนาระบบฐานข้อมูลโรคสำคัญบนใบของไม้ยูคาลิปตัส

ผลงานวิจัย

ผลงานวิจัยจากฐานข้อมูล Google Scholar (คลิ๊กที่นี่)  

Translate »